ตาราง Group teaching สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 5
วิชาศัลยศาสตร์ช่องปาก 3 (DOS 408583)
วันพฤหัสบดีที่ 16 และ 23 กรกฎาคม 2552 เวลา 13.00-14.00 น.
ปีการศึกษา 2552
กลุ่มที่
|
นักศึกษา
|
ครั้งที่ 1 3/07/2008
|
ครั้งที่ 2 10/07/2008
|
1
|
ณัฐพงษ์, จุฑารินทร์, ธีระวัฒน์, พิริยา, ศรันย์, ศีตลา, อมเรศ, อุกฤษ, กรกฎ, กันต์ฎิญะ,
กิตติกร, กิตติพงศ์
|
อ.วิชพงศ์
ห้อง Minor Surgery
|
อ.อุดมรัตน์
ห้องนักเรียน
ผู้ช่วยทันตแพทย์
|
2
|
ขนิษฐา, ขวัญชัย, คณิณ, จิรัฎฐ์, คนึงนิตย์, จาตุรันต์, จิราภรณ์, จิรายุ, ชยพล, ชลธิชา, ชุติมา
ชุลีพร, เชาว์วัฒน์
|
อ.สุรศักดิ์
ห้องบรรยาย 5
|
อ.คธาวุธ
ห้องบรรยายบัณฑิตศึกษา 1
|
3
|
เชิญขวัญ, ฐานันดร์, ฐาปนีย์, ณัฐกุล, ณัฐธิดา,
ณัฐนนท์, ณัฐพล, ณัฐรวี, ณัฐวุฒิ, ณิชาวีย์, ณีรนุช,
ดรุษกร, ธนวัต
|
อ.อุดมรัตน์
ห้องบรรยายบัณฑิตศึกษา 1
|
อ.สุรศักดิ์
ห้อง Minor Surgery
|
4
|
ธันยมัย, ธีระ, ธีระยุทธ, นฤพร, นลัทพร, นันทธมน, นาตยา, นิติพงษ์, นิศารัตน์, นิอร, เนตรณพิชญ์, บงกช, บริบูรณ์
|
อ.นุชดา
ห้องบรรยาย 1
|
อ.วุฒินันท์
ห้องบรรยาย 5
|
5
|
บัญชา, บุญฑริก, ปาลิดา, ปิยพร, ปิยภา, ปิโยรส, พรปวีณ์, พวงพร, พันธ์พร, พิชิต, พิมพ์วดี,
เพชรไพลิน
|
อ.คธาวุธ
ห้องสัมมนาคลินิก
ชั้น 1
|
อ.นุชดา
ห้องสัมมนาภาควิชา
ชั้น 3
|
6
|
เพียงใจ, ภาณุพล, มธุลดา, วรรณภา, วรัตน์,
วารินทร, วาสะพนธ์, วาสินี, วิชาญาตรี, วิภาค,
วิภาวี, วิมพ์วิภา
|
อ.วุฒินันท์
ห้องสัมมนาภาควิชา
ชั้น 3
|
อ.ชนธีร์ ห้องสัมมนาคลินิก
ชั้น 1
|
7
|
ศริญญา, ศศิประภา, ศุภวัฒน์, สลิลรัตน์, สุธิดา,
สุนิษา, สุภัชชา, อรพรรณ, อังกูร, อาซีซีร์,
อิศราภรณ์, เอื้อมจิรา, ไอลดา
|
อ.ชนธีร์
ห้องนักเรียนผู้ช่วยฯ
ชั้น 2
|
อ.วิชพงศ์
ห้องบรรยาย
บัณฑิตศึกษา 2
|
Case 1.1
ประวัติผู้ป่วย
|
ผู้ป่วยหญิงอายุ 30 ปี มาพบด้วยอาการบวมบริเวณข้างจมูกด้านขวามาประมาณ 1 ปี
ไม่มีอาการปวด หรือชาในบริเวณดังกล่าว รอยโรคโตขึ้นช้า ๆ ไม่ยุบลง
|
ประวัติการแพทย์ ทั่วไป
|
ปฏิเสธโรคประจำตัวและการแพ้ยา
|
การตรวจพบ
|
ภายนอกช่องปาก พบอาการบวมบริเวณ right paranasal area ผิวหนังที่ปกคลุมปกติ ไม่มีลักษณะของการติดเชื้อ ไม่พบมีต่อมน้ำเหลืองบริเวณที่คอโต
|
|
ภายในช่องปาก intrabony lesion บริเวณ maxilla ด้านขวาตั้งแต่ #12-15 มี buccal expansion ของกระดูกขากรรไกร แข็งคล้ายกระดูก กดไม่เจ็บ เนื้อเยื่อที่ปกคลุมปกติ ฟันในบริเวณนี้ไม่ผุ
ไม่โยก ตอบสนองต่อ electrical pulp test ปกติ
|
ภาพถ่ายรังสี
|
Panoramic, occlusal topographic และ CT scan พบ bone lesion ลักษณะคล้าย ground glass appearance บริเวณ maxilla area #12-15 ขอบเขตค่อนข้างชัดเจน
|
การพิเคราะห์โรคแยกโรค
|
Fibrous dysplasis
Ossifying fibroma
Desmoplastic ameloblastoma
|
การวินิจฉัย
|
จากการทำ incisional biopsy รายงานผลเป็น Fibrous dysplasia
|
แผนการรักษา
|
Osseous recontouring under LA
|
ประเด็น discussion
1. การตรวจ
2. การส่งภาพรังสีและการอ่านผล
3. CT มีความจำเป็นหรือไม่ เพื่ออะไร
4. Differential diagnosis
5. การรักษาสำหรับ fibrous dysplasia
Case 1.2
ประวัติผู้ป่วย
|
ผู้ป่วยหญิงอายุ 12 ปี มาพบด้วยอาการบวมบริเวณโหนกแก้มด้านซ้าย ร่วมกับมีอาการปวด เป็นมาประมาณ 4 เดือน จะมีอาการปวดมากเมื่อกดบริเวณที่บวม ได้รับยาปฏิชีวนะและยาแก้ปวดแล้วอาการไม่ดีขึ้น
|
ประวัติการแพทย์
ทั่วไป
|
ปฏิเสธโรคประจำตัวและการแพ้ยา
|
การตรวจพบ
|
ภายนอกช่องปาก พบอาการบวมบริเวณแก้มด้านซ้าย กดเจ็บ ผิวหนังปกคลุมปกติ ไม่มีอาการชาของริมฝีปากบน หรือใต้ตา ไม่พบมีต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอที่โต
|
|
ภายในช่องปาก intrabony lesion บริเวณ posterior maxilla ด้านซ้ายตั้งแต่ #25 ถึง tuberosity มี buccal expansion ของกระดูกขากรรไกร แข็งคล้ายกระดูก กดเจ็บ เนื้อเยื่อที่ปกคลุมปกติปกติ ฟันในบริเวณนี้ไม่ผุ ฟัน #27 มี first degree mobility และไม่ตอบสนองต่อ electrical pulp test, ฟัน #24, 25, 26 ตอบสนองต่อ electrical pulp test ปกติ
|
ภาพถ่ายรังสี
|
Panoramic, Periapical view, PA skull, Tomogram บริเวณ maxillary sinus พบ well defined radiopaque lesion ในบริเวณฟัน #26 ถึง tuberosity ขนาด 3 x 3 cm. มี radiolucent area ล้อมรอบ อาจจะสัมพันธ์หรือซ้อนทับกับปลายรากฟัน #26 และ 27 มีความทึบรังสีใกล้เคียงกับฟัน และพบมีหน่อฟัน #28
|
การพิเคราะห์โรคแยกโรค
|
Cementoblastoma
Osteoblastoma
Ossifying fibroma
Odontoma
|
การวินิจฉัย
|
จากการทำ incisional biopsy รายงานผลเป็น Cementoblastoma
|
แผนการรักษา
|
Enucleation with #26, 27 removal under GA
|
การรักษา
|
Enucleation รอยโรคพร้อม #26, 27 ติดไปกับรอยโรคด้วย โดยสามารถแยกรอยโรคออกจากกระดูกโดยรอบได้อย่างชัดเจน พบหน่อฟัน #28 อยู่ทางด้านหลังไม่สัมพันธ์กับรอยโรคนี้ ไม่พบมีการทะลุเข้าสู่ maxillary sinus ได้พิจารณาทำ primary closure
|
Case 2.1
ประวัติผู้ป่วย
|
ผู้ป่วยชายอายุ 25 ปี มาพบด้วยอาการบวมและมีหนองไหลบริเวณคางมา 1 สัปดาห์ เป็น ๆ หาย ๆ มาหลายครั้งภายใน 1 ปีที่ผ่านมา เคยมีประวัติถูกชกบริเวณขากรรไกรล่าง ด้านหน้ามีฟันโยกเล็กน้อยเมื่อ 5 ปีก่อน แต่ไม่ได้รับการตรวจใด ๆ
|
ประวัติการแพทย์ทั่วไป
|
ปฏิเสธโรคประจำตัวและการแพ้ยา
|
การตรวจพบ
|
ภายนอกช่องปาก พบอาการบวม และมี cutaneous fistula บริเวณคาง กดมี pus discharge กดเจ็บ ไม่มีอาการชาของริมฝีปากล่าง ไม่พบมีต่อมน้ำเหลืองบริเวณที่คอโต
|
|
ภายในช่องปาก มี bone expansion เล็กน้อยด้าน buccal area #42-32 ฟันในบริเวณนี้ไม่โยก เคาะไม่เจ็บ #32-41 ไม่ตอบสนองต่อ EPT
|
ภาพถ่ายรังสี
|
Panoramic, Lat. Skull
พบ well defined unilocular radiolucency lesion ในบริเวณฟัน #43-33
|
การพิเคราะห์โรคแยกโรค
|
Radicular cyst
OKC
Ameloblastoma
|
แผนการรักษา
|
Enucletion and RCT with root resection (#32-41) under GA
|
การวินิจฉัย
|
Radicular cyst
|
ประเด็น discussion
1. การตรวจและความสำคัญของการซักประวัติเกี่ยวกับ trauma
2. Differential diagnosis
3. การวาง treatment plan
4. RCT
Case 2.2
ประวัติผู้ป่วย
|
ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 20 ปี มาพบด้วยอาการบวมบริเวณกระดูกขากรรไกรบนด้านซ้ายมา 6 เดือน ไม่มีอาการปวดหรือเจ็บ เคยได้รับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันและถอนฟัน #24,14 เมื่อ 3 ปีก่อน
|
ประวัติการแพทย์ทั่วไป
|
ปฏิเสธโรคประจำตัวและการแพ้ยา
|
การตรวจพบ
|
ภายนอกช่องปาก พบอาการบวมบริเวณใบหน้าด้านซ้ายเล็กน้อย ผิวหนังที่ปกคลุมปกติ ไม่พบมีต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอที่โต
|
|
ภายในช่องปาก intrabony lesion มี bone expansion ลักษณะ dome shape บริเวณกระดูกขากรรไกรบนด้านซ้าย area #23-26 ฟันในบริเวณนี้ไม่โยก เคาะไม่เจ็บ ยกเว้น #23 โยก 1st degree และไม่ตอบสนองต่อ EPT
|
ภาพถ่ายรังสี
|
Panoramic, Periapical, Occlusal topographic, CT
พบ mixed radiolucent – radiopaque lesion ขอบเขตไม่ชัดเจน บริเวณ #23-26 มี divergent ของ E23-25
|
การพิเคราะห์โรคแยกโรค
|
Desmoplastic ameloblastoma
Fibro-osseous lesion
|
แผนการรักษา
|
Partial maxillectomy and closure defect with buccal fat pad under GA
|
การวินิจฉัย
|
Desmoplstic ameloblastoma
|
ประเด็น discussion
1. การตรวจ
2. ภาพถ่ายรังสีและ CT
3. Differential diagnosis
4. การวาง treatment plan
|